ความเป็นมาของไซดักปลา
ในอดีต วิถีชีวิตของชาวบ้าน เมื่อเสร็จจากฤดูเก็บเกี่ยวข้าวนาปีแล้ว ชาวบ้านมักมีเวลาว่าง
จากการทำนา จึงใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์โดยการประกอบอาชีพต่างๆ เพื่อเสริมรายได้ของพวกเขา เช่น ทำไร่ทำสวนและการหาปลา โดยออกหาปลาตาม ห้วย หนอง คลอง บึง มีการใช้เครื่องมือดักปลาไซ เป็นเครื่องจักสานใช้สำหรับดักจับปลาที่เกิดจากภูมิปัญญาของคนไทย โดยใช้ไซซึ่งมีงา ติดไว้ทั้งสองตอนปลาสามารถว่ายน้ำเข้าไปได้แต่ออกไม่ได้ ไซลูกหนึ่งจะมีงา ๒ งา คือ งาขึ้นดักปลาที่ว่ายทวนน้ำ จะหันปากไปหาก้นไซ และงาลงใช้ดักปลาที่ลงมาตามน้ำ จะหันปากไปทางปากไซ งาทั้งสองจะอยู่เยื้องกัน ใส่ถัดจากไม้โขนงข้างละประมาณ ๒๐ ซม. ขนาดของงาไซจะขึ้นอยู่กับขนาดใหญ่-เล็กของไซ ที่ปากไซ จะใช้กะลามะพร้าวปิดไว้ แล้วขัดไขว่ด้วยไม้ไผ่เล็ก ๆ ๒ อัน เวลาที่เทปลาออกมาจากไซ ก็จะเปิดปากออก และปิดไว้อย่างเดิมนำไซไปวางดักไว้ตามห้วย หนอง หรือคลอง ที่มีการไหลของน้ำตลอดเวลา โดยวางในแนวเหนือน้ำเพราะปลาจะว่ายทวนน้ำหาไม้มาปักให้ไซติดอยู่กับที่เพราะแรงของน้ำที่ไหลอยู่ตลอดเวลานั้นอาจจะสามารถทำให้ไซลอยน้ำไปได้เมื่อดักเสร็จแล้วก็ต้องคอยไปดูว่ามีปลาเข้ามาติดในไซหรือไม่ ถ้ามีปลาอยู่ในไซก็เอาปลาออกแล้วสามารถดักต่อไปอีกได้ ด้วยความอุดมสมบูรณ์เพียบพร้อมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ เมื่อครั้งสมัยโบราณ กุ้ง หอย ปู ปลา สามารถที่จะหากินได้โดยง่าย เพียงแต่ใช้ไซ ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ใช้ดักจับสัตว์น้ำ แบบง่าย ๆ ก็จะได้ปู ปลาต่าง ๆ มาเป็นอาหารอย่างไม่ยากเลย
ในอดีต วิถีชีวิตของชาวบ้าน เมื่อเสร็จจากฤดูเก็บเกี่ยวข้าวนาปีแล้ว ชาวบ้านมักมีเวลาว่าง
จากการทำนา จึงใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์โดยการประกอบอาชีพต่างๆ เพื่อเสริมรายได้ของพวกเขา เช่น ทำไร่ทำสวนและการหาปลา โดยออกหาปลาตาม ห้วย หนอง คลอง บึง มีการใช้เครื่องมือดักปลาไซ เป็นเครื่องจักสานใช้สำหรับดักจับปลาที่เกิดจากภูมิปัญญาของคนไทย โดยใช้ไซซึ่งมีงา ติดไว้ทั้งสองตอนปลาสามารถว่ายน้ำเข้าไปได้แต่ออกไม่ได้ ไซลูกหนึ่งจะมีงา ๒ งา คือ งาขึ้นดักปลาที่ว่ายทวนน้ำ จะหันปากไปหาก้นไซ และงาลงใช้ดักปลาที่ลงมาตามน้ำ จะหันปากไปทางปากไซ งาทั้งสองจะอยู่เยื้องกัน ใส่ถัดจากไม้โขนงข้างละประมาณ ๒๐ ซม. ขนาดของงาไซจะขึ้นอยู่กับขนาดใหญ่-เล็กของไซ ที่ปากไซ จะใช้กะลามะพร้าวปิดไว้ แล้วขัดไขว่ด้วยไม้ไผ่เล็ก ๆ ๒ อัน เวลาที่เทปลาออกมาจากไซ ก็จะเปิดปากออก และปิดไว้อย่างเดิมนำไซไปวางดักไว้ตามห้วย หนอง หรือคลอง ที่มีการไหลของน้ำตลอดเวลา โดยวางในแนวเหนือน้ำเพราะปลาจะว่ายทวนน้ำหาไม้มาปักให้ไซติดอยู่กับที่เพราะแรงของน้ำที่ไหลอยู่ตลอดเวลานั้นอาจจะสามารถทำให้ไซลอยน้ำไปได้เมื่อดักเสร็จแล้วก็ต้องคอยไปดูว่ามีปลาเข้ามาติดในไซหรือไม่ ถ้ามีปลาอยู่ในไซก็เอาปลาออกแล้วสามารถดักต่อไปอีกได้ ด้วยความอุดมสมบูรณ์เพียบพร้อมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ เมื่อครั้งสมัยโบราณ กุ้ง หอย ปู ปลา สามารถที่จะหากินได้โดยง่าย เพียงแต่ใช้ไซ ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ใช้ดักจับสัตว์น้ำ แบบง่าย ๆ ก็จะได้ปู ปลาต่าง ๆ มาเป็นอาหารอย่างไม่ยากเลย
ชนิดของไซที่ทำ คือ ไซสองหน้า หรือไซสองงา เนื่องจากมีงาอยู่ ๒ ด้าน จึงเรียกว่า ไซสองหน้า หรือ ไซสองงาสานด้วยผิวไม้ไผ่เป็นลายขัดตาสี่เหลี่ยมต่าง ๆ มีรูปทรงกลม ก้นด้านบนจะคอดเหมือนคอขวด มีฝาปิดเปิดเอาปลาออก เส้นผ่าศูนย์กลางกว้างประมาณ 50 เซนติเมตร ปากกว้าง มีความยาวประมาณ ๑ เมตร ใช้ดักปลาในน้ำนิ่ง และน้ำตื้นสถานที่ดักก็จะมีอยู่ทั่วไปตามไร่ตามนา ในฤดูฝนมีน้ำหลาก ชาวบ้านออกไปทำไร่ ทำนา ก็จะนำไซไปดักทิ้งไว้ด้วย ก็จะได้ปู ปลาต่าง ๆ มากมาย บางครั้งอาจยกไซไม่ได้เนื่องจากหนักเพราะดักปลาได้เกือบเต็มไซ ปลาที่ได้ก็จะนำไปประกอบอาหารสำหรับทุกคนในครอบครัว แบ่งปันให้เพื่อนบ้านบ้าง โดยไม่ต้องซื้อขายกัน ที่เหลือก็จะนำมาถนอมอาหารเช่น ทำปลาร้า ปลาเค็ม ปลาย่าง เก็บไว้กินยามฤดูแล้ง ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากร ที่สามารถหาปลากินได้อย่างเหลือเฟือ เป็นที่มาของความเชื่อในเรื่องโชคราง ชาวบ้านตำบลเพชรชมภู มีความเชื่อว่าไซ เป็นเครื่องรางที่จะช่วยดักเงินทอง โชคลาภได้ จึงมักจะนำไซไปแขวนไว้ตามหน้าร้านค้า ประตูบ้าน หรือใช้ผูกเสาเอกในพิธีลงเสาเอกบ้านเรือน เพื่อความเป็นสิริมงคลดังกล่าว
ในปัจจุบัน ชาวบ้านตำบลเพชรชมภู กิ่งอำเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกำแพงเพชร ไม่ได้ทำไซ ไว้ใช้ดักปลาทุกบ้านเหมือนแต่ก่อน ผู้จักสานไซเป็นเหลืออยู่ไม่มาก และไม่ได้ถ่ายทอดให้แก่ลูกหลาน เพราะไซไม่มีความจำเป็นที่ต้องใช้ในชีวิตประจำวัน ด้วยเหตุผลต่าง ๆ เช่น ไม่มีสถานที่สำหรับดักปลาเหมือนแต่ก่อน เนื่องจากได้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสภาพไปแล้ว ปัจจุบันปริมาณปลามีไม่มาก ซื้อจากตลาดสะดวกกว่ามีปลาให้เลือกมากมาย ไม่มีเวลาเพราะต้องไปประกอบอาชีพที่อื่น การดักไซไม่คุ้มค่ากับเวลาที่เสียไป เป็นต้น ปัจจุบัน ไซ จึงเป็นเครื่องจักสานที่ไม่มีความสำคัญ ต่อวิถีชีวิตของชาวบ้าน เหลือเพียงตำนาน หรือคำบอกเล่าของพ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ที่เล่าให้ฟังว่าเคยไซดักปลาได้อาหารอย่างเหลือเฟือ ด้วยความอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไม่อาจจะหวนกลับคืนมาได้อีก
ในอดีต วิถีชีวิตของชาวบ้าน เมื่อเสร็จจากฤดูเก็บเกี่ยวข้าวนาปีแล้วจากการทำนา จึงใช้เวลาว่างให้เป็น ชาวบ้านมักมีเวลาว่าง
ประโยชน์โดยการประกอบอาชีพต่างๆ เพื่อเสริมรายได้ของพวกเขา เช่น ทำไร่ทำสวนและการหาปลา โดยออกหาปลาตาม ห้วย หนอง คลอง บึง มีการใช้เครื่องมือดักปลาไซ เป็นเครื่องจักสานใช้สำหรับดักจับปลาที่เกิดจากภูมิปัญญาติดไว้ทั้งสองตอของคนไทย โดยใช้ไซซึ่งมีงานปลาสามารถว่ายน้ำเข้าไปได้แต่ออกไม่ได้ ไซลูกหนึ่งจะมีงา ๒ งา คือ งจะหันปากไปหาก้นาขึ้นดักปลาที่ว่ายทวนน้ำไซ และงาลงใช้ดักปลาที่ลงมาตามน้ำ จะหันปากไปทางปากไซ งาทั้งสองจะอยู่เยื้องกัน ใส่ถัดจากไม้โขนงข้างละประมาณ ๒๐ ซม. ขนาดของงาไซจะขึ้นอยู่กับขนาดใหญ่-เล็กของไซ ที่ปากไซ จะใช้กะลามะพร้าวปิดไว้ แล้วขัดไขว่ด้วยไม้ไผ่เล็ก ๆ ๒ อัน เวลาที่เทปลาออกมา
ในปัจจุบัน ชาวบ้านตำบลเพชรชมภู กิ่งอำเภอโกสัมพีนคร จังหวัดกำแพงเพชร ไม่ได้ทำไซ ไว้ใช้ดักปลาทุกบ้านเหมือนแต่ก่อน ผู้จักสานไซเป็นเหลืออยู่ไม่มาก และไม่ได้ถ่ายทอดให้แก่ลูกหลาน เพราะไซไม่มีความจำเป็นที่ต้องใช้ในชีวิตประจำวัน ด้วยเหตุผลต่าง ๆ เช่น ไม่มีสถานที่สำหรับดักปลาเหมือนแต่ก่อน เนื่องจากได้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสภาพไปแล้ว ปัจจุบันปริมาณปลามีไม่มาก ซื้อจากตลาดสะดวกกว่ามีปลาให้เลือกมากมาย ไม่มีเวลาเพราะต้องไปประกอบอาชีพที่อื่น การดักไซไม่คุ้มค่ากับเวลาที่เสียไป เป็นต้น ปัจจุบัน ไซ จึงเป็นเครื่องจักสานที่ไม่มีความสำคัญ ต่อวิถีชีวิตของชาวบ้าน เหลือเพียงตำนาน หรือคำบอกเล่าของพ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ที่เล่าให้ฟังว่าเคยไซดักปลาได้อาหารอย่างเหลือเฟือ ด้วยความอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไม่อาจจะหวนกลับคืนมาได้อีก
ในอดีต วิถีชีวิตของชาวบ้าน เมื่อเสร็จจากฤดูเก็บเกี่ยวข้าวนาปีแล้วจากการทำนา จึงใช้เวลาว่างให้เป็น ชาวบ้านมักมีเวลาว่าง
ประโยชน์โดยการประกอบอาชีพต่างๆ เพื่อเสริมรายได้ของพวกเขา เช่น ทำไร่ทำสวนและการหาปลา โดยออกหาปลาตาม ห้วย หนอง คลอง บึง มีการใช้เครื่องมือดักปลาไซ เป็นเครื่องจักสานใช้สำหรับดักจับปลาที่เกิดจากภูมิปัญญาติดไว้ทั้งสองตอของคนไทย โดยใช้ไซซึ่งมีงานปลาสามารถว่ายน้ำเข้าไปได้แต่ออกไม่ได้ ไซลูกหนึ่งจะมีงา ๒ งา คือ งจะหันปากไปหาก้นาขึ้นดักปลาที่ว่ายทวนน้ำไซ และงาลงใช้ดักปลาที่ลงมาตามน้ำ จะหันปากไปทางปากไซ งาทั้งสองจะอยู่เยื้องกัน ใส่ถัดจากไม้โขนงข้างละประมาณ ๒๐ ซม. ขนาดของงาไซจะขึ้นอยู่กับขนาดใหญ่-เล็กของไซ ที่ปากไซ จะใช้กะลามะพร้าวปิดไว้ แล้วขัดไขว่ด้วยไม้ไผ่เล็ก ๆ ๒ อัน เวลาที่เทปลาออกมา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น